#ทานดี #ทานง่าย #มีประโยชน์ # เชียงดา#ตรีผลา
เชียงดา…สมุนไพรหลักใน เครื่องดื่มสมุนไพรเชียงดาตรีผลา
ตามข้อมูลเชิงวิชาการ ระบุว่า ราชินีผักพื้นบ้านของภาคเหนืออย่าง “ผักจินดา” หรือ “ผักเชียงดา” เป็นผักพื้นบ้านไทยที่มีสกุล (Genus) เดียวกับGymnema Sylvestre ที่พบมากในประเทศอินเดีย ซึ่งถูกใช้รักษาโรคเบาหวานมานานกว่า 2,000 ปี จนได้รับขนานนามว่าเป็นนักฆ่าน้ำตาล ด้วยเหตุนี้ผักเชียงดาพื้นบ้านของไทยในชื่อ Gymnema จึงมีงานวิจัยมากมายจากสถาบันชั้นนำในต่างประเทศ โดยสรรพคุณของผักเชียงดานั้นไม่ได้มีแค่ปรับระดับน้ำตาลในเลือดบำรุงตับอ่อน แต่ยังช่วยปรับความดันโลหิต ลดอาการแพ้ ลดอาการไข้ และอื่นๆ อีกด้วย
ตำรับยา “ตรีผลา” ประกอบด้วยสมุนไพร 3 อย่าง ประกอบด้วย
เชียงดา…สมุนไพรหลักใน เครื่องดื่มสมุนไพรเชียงดาตรีผลา
ตามข้อมูลเชิงวิชาการ ระบุว่า ราชินีผักพื้นบ้านของภาคเหนืออย่าง “ผักจินดา” หรือ “ผักเชียงดา” เป็นผักพื้นบ้านไทยที่มีสกุล (Genus) เดียวกับGymnema Sylvestre ที่พบมากในประเทศอินเดีย ซึ่งถูกใช้รักษาโรคเบาหวานมานานกว่า 2,000 ปี จนได้รับขนานนามว่าเป็นนักฆ่าน้ำตาล ด้วยเหตุนี้ผักเชียงดาพื้นบ้านของไทยในชื่อ Gymnema จึงมีงานวิจัยมากมายจากสถาบันชั้นนำในต่างประเทศ โดยสรรพคุณของผักเชียงดานั้นไม่ได้มีแค่ปรับระดับน้ำตาลในเลือดบำรุงตับอ่อน แต่ยังช่วยปรับความดันโลหิต ลดอาการแพ้ ลดอาการไข้ และอื่นๆ อีกด้วย
ตรีผลา
ตำรับยา “ตรีผลา” ประกอบด้วยสมุนไพร 3 อย่าง ประกอบด้วย
เจียวกู้หลาน ช่วยทำให้ ระบบการย่อยอาหารทำงานได้ดีขึ้น และลดภาวการณ์เกิดพิษเรื้อรังที่ ตับบำรุงตับ เพิ่มความแข็งแกร่งให้กับเซลล์ เสริมสร้างเซลล์ไขกระดูกและเม็ดเลือดขาว
เอกสารอ้างอิง
1. ภก.ประวิทย์ ตันติสุวิทย์กุล.สมุนไพรน่ารู้ เจียวกู่หลาน.คอลัมน์ การส่งเสริมสุขภาพวารสารเภสัชกรรมชุมชน.ปีที่ 8 ฉบับที่ 46 เดือนตุลาคม 2552 .หน้า 39 – 40
2. อรสา ดิสถาพร. 2551. เอกสารวิชาการการพัฒนาพืชสมุนไพรจีนในประเทศไทย. สำนักส่งเสริม และจัดการสินค้าเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตรกระทรวงเกษตรและสหกรณ์.หน้า 63 – 66
ใบเตยหอม ช่วยบำรุงหัวใจให้ชุ่มชื่น และช่วยลดอัตราการเต้นของหัวใจ ช่วย บำรุงสมอง ประสาท ทำให้สดชื่น และแก้อาการอ่อนเพลีย
เอกสารอ้างอิง
ใบเตย.กระดานถาม-ตอบ.สำนักงานข้อมูลสมุนไพรคณะเภสัชศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล.(ออนไลน์)เข้าถึงได้จาก http://www.medplant.mahidol.ac.th/user/reply.asp?id=6483
ดวงจันทร์เกรียงสุวรรณ. 2546. พืชผักผลไม้ไทยมีคุณค่าเป็นทั้งอาหารและยาเตยหอมและแตงกวา.งานศูนย์บริการวิชาการและฝึกอบรมฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ คณะทรัพยากรธรรมชาติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตหาดใหญ่
ลูกใต้ใบ ลดอาการดับร้อนตับอักเสบ เป็นยาแก้ไข้ ลดความร้อน ขับปัสสาวะ
เอกสารอ้างอิง
วิธีรับประทาน :
ใส่ซองสมุนไพร 1 ซองลงในแก้ว เติมน้ำร้อน 150-200 มิลลิลิตร ตั้งทิ้งไว้ให้สมุนไพรละลายประมาณ 1-2 นาที
ใช้ช้อนนวดซองเบาๆ เพื่อช่วยให้สมุนไพรละลายในน้ำร้อนออกมาได้ง่ายขึ้น รสชาติหอมหวาน ร้อน ฝาด ขม กลมกล่อมครบรส
ควรดื่มในช่วงท้องว่างเพราะจะทำให้ร่างกายสามารถดูดซึมตัวยาสมุนไพรได้ดีมากยิ่งขึ้น และ ทานวันละสองเวลา ก่อนอาหารเช้าและก่อนอาหารกลางวันหรือก่อนนอน